Upcoming Events
Intensive course for interventional cardiologist 2020
ขอเรียนเชิญเฟลโล่รับชมการประชุมออนไลน์
[Rerun] 3rd Quarterly Scientific Meeting of CIAT: A New Hope
ขอเชิญรับชมวิดีโอ Rerun งาน 3rd Quarterly Scientific Meeting of CIAT: A New Hope
11th CIAT Annual scientific conference 2020
วันที่ 31 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2020
เข้าสู่เว็บไซด์ได้ที่ คลิกที่นี่
มาตรฐานและแนวทางการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพ ห้องปฏิบัติการตรวจสวนหัวใจ
(Standards and Guidelines for Cardiovascular Catheterization Accreditation)
จัดทําโดย สมาคมแพทย์มัณฑนากรหัวใจและหลอดเลือดแห่งประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2562
NEW | 2020 Thai ACS Guideline
Now! Available for download
NEW | 2019 Stable CAD Guideline
Check out the latest summaries, commentary and tools to help you dissect the latest guideline
CIAT Seeks Comments
CIAT Seeks Comments on the Cath Lab Standard Document by April 23.

นพ.กรกฏ โตวชิราภรณ์ ศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษาทางคลินิกของยา NOACs ในผู้ป่วย Atrial fibrillation ที่ได้รับการ PCI ในผู้ป่วย AF ที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีการ PCI จะได้รับยามาตรฐานคือ Vitamin K antagonist (VKA) ร่วมกับ Dual antiplatelet (DAPT) ด้วย Aspirin กับ P2Y12 inhibitor ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงเรื่อง Thrombosis และ Ischemic stroke ได้ แต่อย่างไรก็ตาม สามารถพบความเสี่ยงเรื่องเลือดออกผิดปรกติ เพิ่มมากขึ้นได้เช่นเดียวกัน จึงมีการศึกษาทางคลินิกของยา Rivaroxaban ในผู้ป่วย AF ที่ได้รับการ PCI เนื่องจากคาดว่าจะมีสามารถลดBleeding complication ได้ โดยไม่เพิ่ม Ischemic outcomes เมื่อเทียบกับการรักษาแบบมาตรฐานเดิมด้วยแบบ Triple … Continue reading Antithrombotic therapy strategies in atrial fibrillation patients who underwent percutaneous coronary intervention (Part II)

นพ.ชัยศิริ วรรณลภากร หน่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ปัจจุบันการรักษาผู้ป่วย severe aortic stenosis (severe AS) ด้วย transcatheter aortic valve implantation (TAVI) กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ และเมื่อเปรียบเทียบกับ surgical aortic valve replacement (SAVR) แล้ว พบว่าการรักษาด้วย TAVI ถือว่า less invasive และมี length of stay ที่สั้นกว่า อย่างไรก็ตาม complication ที่สำคัญของการรักษาด้วย TAVI ได้แก่ conduction disturbance รวมถึง complete heart block พบว่าสูงกว่า SAVR ในบางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่ใช้ลิ้นหัวใจชนิด self-expandable valve … Continue reading Management of conduction disturbances after TAVI

นพ.เหมือนเพชร เหมือนแก้ว หน่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Coronary artery aneurysm เป็นการโป่งพองของหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งอาจตรวจพบโดยบังเอิญจากการตรวจcoronary imaging วิธีต่างๆเช่น coronary angiography, CT coronary โดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการ หรือ ผู้ป่วยอาจจะมีอาการจาก aneurysm เช่น acute coronary syndrome, การกดทับอวัยวะข้างเขียงหรือการแตกของ aneurysm ก็ได้ แม้ว่าจะมีการพบและบรรยายถึงภาวะนี้โดย Bougon ตั้งแต่ปี 1812 ปัจจุบันก็ยังไม่ทราบแน่ชัดถึง pathophysiology ของโรค การรักษาก็ยังไม่มีการแนะนำเป็นแนวทางที่ชัดเจนเนื่องจากไม่มีการศึกษาที่เป็น randomized control trial บทความนี้จะกล่าวถึงข้อมูลเกี่ยวกับความรู้เรื่อง coronary artery aneurysm ในปัจจุบัน โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน ส่วนที่หนึ่งจะเกี่ยวข้องกับนิยาม การแบ่งประเภท และกลไกการเกิดโรค ส่วนที่สองจะเกี่ยวข้องกับ clinical presentation และการวินิจฉัย ส่วนที่สามจะเกี่ยวกับการรักษา Part … Continue reading Coronary Artery Aneurysm

นพ.กฤษฎา มีมุข สาขาวิชาโรคหัวใจ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาวะลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว หรือ Mitral regurgitation เป็นภาวะลิ้นหัวใจผิดปกติที่พบบ่อยที่สุด(1) จากการรายงาน the Global Burden of Disease Study 2017 พบว่าภาวะลิ้นหัวใจไมตรัลรั่วที่เกิดจากการเสื่อมสภาพพบบ่อยขึ้น พบว่า พ.ศ.2560 จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 185 คน และ 219 คนต่อแสนประชากรในประชากรชายและหญิงตามลำดับ โดยเพิ่มจากปี พ.ศ.2533 ที่มีผู้ป่วย 168 คน และ 198 คนต่อแสนประชากร ในประชากรชายและหญิงตามลำดับ โดยที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตประมาณ 0.2 ต่อแสนประชากร และ เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะ โดยเพศชายมีความสูญสียปีสุขภาวะ จำนวน 6 ปีต่อแสนประชากร และ เพศหญิงมีความสูญเสีย จํานวน 6 ปีต่อแสน โดยผู้ป่วยที่มีภาวะลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว มักจะมาแสดงด้วยอาการเหนื่อยง่าย ออกแรงแล้วมีอาการเหนื่อยไวผิดปกติ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม … Continue reading Transcatheter valve therapy 2021: Where are we now?

นพ.กรกฏ โตวชิราภรณ์ ศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล Oral anticoagulation drug (OAC) มีข้อบ่งชี้ในการป้องกันภาวะ Systemic embolism ในผู้ป่วย Atrial fibrillation (AF) ซึ่งปัจจุบัน OAC ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภทคือ Vitamin K antagonist (VKA) ได้แก่ Warfarin ซึ่งเป็นยาที่มีใช้มาเป็นระยะเวลานาน และยากลุ่ม Non-vitamin K antagonist oral anticoagulants (NOACs) หรือ Directed oral anticoagulants (DOACs) ได้แก่ Dabigatran, Rivaroxaban, Apixaban และ Edoxaban ซึ่งปัจจุบันนับเป็นทางเลือกใหม่ แทนที่การใช้ยา VKA เนื่องจาก NOAC ได้รับการพิสูจน์ถึงประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการใช้ยา … Continue reading Antithrombotic therapy strategies in atrial fibrillation patients who underwent percutaneous coronary intervention (Part I)

นพ.ชัยศิริ วรรณลภากร (Chaisiri Wanlapakorn, MD) จากการศึกษา PARTNER 3 และ Evolut Low Risk ทำให้คำแนะนำล่าสุดจาก AHA/ACC guideline for the management of patients with valvular heart disease ปี 2020 อนุญาตให้พิจารณาทำ TAVI ในผู้ป่วย symptomatic severe AS และ asymptomatic severe AS with LV dysfunction เนื่องจากผลการศึกษาพบว่าการรักษาผู้ป่วยด้วย TAVI มีประสิทธิภาพไม่ด้อยกว่า surgical AVR (SAVR) อย่างไรก็ตามผลการศึกษาจาก meta-analysis เปรียบเทียบระหว่าง TAVI กับ SAVR ในผู้ป่วย low surgical … Continue reading TAVI vs SAVR in Low risk severe aortic stenosis